หลักสูตร : การวิเคราะห์ข้อมูลทางการเกษตรด้วยวิธีเคโมเมทริกซ์ (Chemometrics)
หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระยะเวลาที่ใช้ในการฝึกอบรม : 3 วัน
ประโยชน์ที่ผู้ฝึกอบรมจะได้รับ
ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ความเข้าใจด้านการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีเคโมเมท โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลที่ได้จากการตรวจสอบคุณภาพผลิตผลเกษตรด้วยเทคนิค NIRS และสามารถนำไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานได้ เพิ่มความแม่นยำและความถูกต้อง สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรแบบองค์รวม เพิ่มประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ข้อมูล สามารถนำผลการวิเคราะห์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานวิจัยลำดับที่สูงขึ้น
หัวข้อการฝึกอบรม
- Introduction to principle component analysis (PCA)
- Calculation of PCA
- Start with Matlab
- Some matrix operations and data visualizations
- Near infrared spectroscopy and data acquisition
- PCA calculation: Exploratory data analysis of NIR data
- Data preprocessing for spectral (NIR) data
- Result interpretations with some interesting study cases
- Introduction to process monitoring
- SIMCA, D (Hotelling T2) and Q statistics
- Data preprocessing and model optimization in process monitoring
- Some interesting study cases
หลักสูตร
- การจัดการผลิตผลสดตัดแต่งพร้อมบริโภค (ทุเรียน)
- การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวสำหรับผลิตผลเกษตรและการควบคุมการสูญเสียอาหาร
- การจัดการโซ่ความเย็นของผลิตผลสด
- การจัดการโรคพืชในผลไม้มูลค่าสูง (ทุเรียน)
- การตรวจสอบคุณภาพผลมะละกอหลังการเก็บเกี่ยว
- การถ่ายทอดองค์ความรู้ มาตรฐานการผลิต GlobalGAP เพื่อการส่งออก
- การถ่ายทอดเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวของผักอินทรีย์
- การลดการสูญเสียของผัก ผลไม้ และไม้ตัดดอกหลังการเก็บเกี่ยว
- การเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรสู่เทคโนโลยีชีวมวลและพลังงานทดแทน
- การใช้สารเคลือบผิวและบรรจุภัณฑ์ค้าปลีกสำหรับไม้ผล (ทุเรียน)
- ความต้องการน้ำและการจัดการธาตุอาหารในไม้ผล
- ความสำคัญของการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลิตผลทางพืชสวนและการประยุกต์ใช้งานวิจัยเพื่อลดการสูญเสีย
- ระบบบรรจุภัณฑ์สำหรับการขนส่งผลิตผลสด