กลุ่มเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

กลุ่มเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

ศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
Hub of Talents: Postharvest Technology

กลุ่มเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

ศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญทางด้านการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว กลุ่มเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว โดยเป็นศูนย์กลางฐานข้อมูลของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่มีความสนใจในสาขาวิชาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนางานวิจัยทางด้านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อพัฒนาสู่การนำไปใช้ประโยชน์และสร้างมูลค่าเพิ่ม ลดการสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยวด้วยการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น เทคโนโลยีแบบไม่ทำลาย (Non-destructive Technology) เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ (packaging technology) เทคโนโลยีการเคลือบผิว (Coating technology) เทคโนโลยีคลื่นความถี่วิทยุ (Radio frequency technology) เทคโนโลยีออกซิเดชั่น (Oxidation Technology) เทคโนโลยีวัสดุ (Material technology) และอื่นๆ ตามความเชี่ยวชาญ โดยรวบรวมข้อมูลทางด้านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวที่มีอยู่ในปัจจุบัน และแนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีที่นำมาสู่การใช้ประโยชน์ด้านหลังการเก็บเกี่ยวที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยรวบรวมและจัดการองค์ความรู้ ข้อมูลที่สำคัญ เพื่อใช้สำหรับสนับสนุนและผลักดันการแก้ไขปัญหาที่สำคัญทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยการทำงานร่วมกันของผู้เชี่ยวชาญในหลากหลายสาขาวิชา ในการร่วมกันให้ข้อคิดเห็น ข้อแนะนำ ข้อจำกัด และช่วยกันวิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญของปัญหาในด้านต่างๆ ตลอดจนร่วมกันหาแนวทางการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมหลังการเก็บเกี่ยว สู่การพัฒนาแนวทางการวิจัยที่ลดการสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยวร่วมกัน สู่การแก้ไขปัญหาในมิติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสังคม ชุมชน เศรษฐกิจ เพื่อยกระดับขีดความสามารถของผู้เชี่ยวชาญ นักวิจัยในด้านองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญโดยการสนับสนุนกิจกรรมเสริมสร้างความเชี่ยวชาญด้านต่างๆ ของศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวต่อไป

ประเด็นปัญหา

  • ความเหมาะสมของเทคโนโลยีต่อการนำไปใช้ประโยชน์
  • ความแม่นยำ และความน่าเชื่อถือของเทคโนโลยี
  • ต้นทุนของเทคโนโลยีกับความคุ้มค่าคุ้มทุน

ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว จำนวน 31 คน

ดร.ณัฏฐวัฒณ์ หมื่นมาณี

ดร.ณัฏฐวัฒณ์ หมื่นมาณี

การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว

(ผู้ประสานงาน)

ผศ.ดร.อาทิตย์ พวงสมบัติ

ผศ.ดร. อาทิตย์ พวงสมบัติ

Near-infrared spectroscopy technique และ การทดสอบแบบไม่ทำลายในผลิตผลทางการเกษตร

รศ.ดร.นริศ ท้าวจันทร์

รศ.ดร.นริศ ท้าวจันทร์

การควบคุมแมลงโดยชีววิธี เชื้อจุลินทรีย์ควบคุมแมลง เทคโนโลยีชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช การพัฒนาผลิตภัณฑ์ควบคุมแมลง

ผศ.ดร.ศิลา กิตติวัชนะ

รศ.ดร.ศิลา กิตติวัชนะ

Chemometrics; Analytical chemistry; Machine Learning

ศ.ดร. รังสินี โสธรวิทย์

ศ.ดร.รังสินี โสธรวิทย์

ฟิล์มและสารเคลือบพอลิเมอร์ชีวภาพสำหรับระบบอาหาร

รศ.ดร.อำนาจ ชิดไธสง

รศ.ดร.อำนาจ ชิดไธสง

Greenhouse gas emission & mitigation, climate change

ดร.นิตยา ชาอุ่น

ดร.นิตยา ชาอุ่น

การตรวจวัดและประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคเกษตร และป่าไม้, การประเมิน carbon footprint ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร, การจัดทำบัญชีก๊าซเรือนกระจกในภาคเกษตร ป่าไม้ และการใช้ประโยชน์ที่ดินในระดับจังหวัด

รศ.ดร.ชาญชัย ทองโสภา

รศ.ดร.ชาญชัย ทองโสภา

เครื่องกลทางอิเล็กทรอนิกส์

ผศ.ดร.ประพัน ลี้กุล

ผศ.ดร.ประพัน ลี้กุล

ระบบเซนเซอร์ตรวจวัดความอ่อนแก่ผลไม้

ผศ.ดร.ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์

ผศ.ดร.ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์

Packing (Smart packing, Active packing, MAP, Film, etc.), Coating, Plant Growth Regulators, สรีรวิทยา

ผศ.ดร.ทินน์ พรหมโชติ

ผศ.ดร.ทินน์ พรหมโชติ

Production Technology, สรีรวิทยา, เทคโนโลยีชีวภาพ, การปรับปรุงพันธุ์พืช

กิรชุดา เหมสุวิมล

คุณกิรชุดา เหมสุวิมล

โรคพืช, แมลงศัตรูพืช, สรีรวิทยา

ผศ.ดร.รัฐพล แสงระยับ

ผศ.ดร.รัฐพล แสงระยับ

Coffee processing, Non-destructive evaluation, Machine learning


thThai